หน้าหลัก พระธรรม หนังสือธรรมะ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) หน้าที่ ๔
Search:
"อานนท์เอย ! พึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า ธรรมวินัยอันใดที่เราได้แสดงแล้ว บัญญัติแล้ว ขอให้ธรรมวินัยอันนั้น จงเป็นศาสดาของพวกเธอแทนเราต่อไป เธอทั้งหลายจงมีธรรมวินัยเป็นที่พึ่งเถิด อย่าได้มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งเลย"
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน
อาจารย์วศิน อินทสระ

“ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม


 มีพุทธพจน์แห่งหนึ่ง สรุปธรรมทั้งหมดไว้ดังนี้
  ๑. ธรรมทั้งปวง มีฉันทะเป็นมูล (ฉนฺทมูลกา) ๖. ธรรมทั้งปวง มีสติเป็นเจ้าใหญ่ (สตยาธิปเตยฺยา)
  ๒. ธรรมทั้งปวง มีมนสิการเป็นต้นกำเนิด (มนสิการสมฺภวา) ๗. ธรรมทั้งปวง มีปัญญาเป็นยิ่งยอด (ปญฺญุตฺตรา)
  ๓. ธรรมทั้งปวง มีผัสสะเป็นที่ก่อตัวขึ้น (ผสฺสสมุทยา) ๘. ธรรมทั้งปวง มีวิมุติเป็นแก่น (วิมุตฺติสารา)
  ๔. ธรรมทั้งปวง มีเวทนาเป็นที่ชุมนุม (เวทนาสโมสรณา) ๙. ธรรมทั้งปวง มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธา)
  ๕. ธรรมทั้งปวง มีสมาธิเป็นประมุข (สมาธิปมุขา) ๑๐. ธรรมทั้งปวง มีนิพพานเป็นที่สิ้นสุด (นิพพานปริโยสานา)
 

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) :
สัมมาสมาธิและสมาธิแบบพุทธ

หน้าแรก : หมวดพระธรรม
หน้าหลัก : หนังสือธรรมะ
วัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม
เว็บไซต์ : http://www.watnyanaves.net
(รวมทั้งหมด ๓๕๘ เล่ม)

301 สัจธรรมกับจริยธรรม 331 อายุรแพทย์กับปัญหาจริยธรรม
302 สันติภาพเกิดจากอิสรภาพและความสุข 332 อารยธรรมไทยทางเลือกออกจากยุคพัฒนา
303 สัมมาทิฏฐิ 333 อิทธิปาฏิหารย์เทวดา [ทัศนะของพระพุทธศาสนา ต่อเรื่องเหนือสามัยวิสัย]
304 สัมมาสติ ในพุทธธรรม 334 อุดมคติของคนหนุมสาว [ชุดธรรมะสำหรับคนหนุ่มสาว]
305 สัมมาสมาธิ สมาธิแบบพุทธ 335 อุดมธรรมนำจิตสำนึกของสังคมไทย
306 สัมมาอาชีวะ 336 A Brief Introduction to the Buddha-Dhamma
307 สามไตร 337 A Constitution for Living
308 สารัตถธรรม 338 Beyond Tolerance and Pleasure
309 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทวฤทธิ์ปาฏิหารย์ 339 Buddhism - A Layman Guide of Life
310 สิทธิมนุษยชน สร้างสันสุขหรือสลายสังคม 340 Buddhism and Education
311 สี่หน้าที่ของสตรีไทย 341 Buddhism and The Business World The Buddhist Way to deal with business
312 สืบสานวัฒนธรรมไทยบนฐานแห่งการศึกษาที่แท้ 342 Buddhist Economics
313 สุขนี้มิไกล ใครมีปัญญาไวหาได้ทุกสถาน 343 Buddhist Solutions for the twenty- first century
314 สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ 344 Dependent Origination
315 สุขสดใส ใหม่ทุกเวลา 345 Ethics, Wealth and Salvation - A Study in Buddhist5 Social Ethics
316 สู่การศึกษาแนวพุทธ 346 Freedom Individual and Social
317 สู่อนาคตที่สดใส ด้วยการศึกษาไทยวิถีพุทธ 347 Good, Evil and Beyond
318 น้าที่กับธรรมสู่หน้าที่เพื่อธรรม 348 Helping Yourself to Help Others
319 หยาดเพชรหยาดธรรม ภูมิปัญญาเพื่อการศึกษาไทย 349 Jataka Tales Book I
320 หลักแม่บทของการพัฒนาตน 350 Jataka Tales Book II
321 หลักกรรมสำหรับคนสมัยใหม่ 351 Looking to America to Solve Thailand's Problems
322 หลักชาวพุทธ [แผ่นพับ] 352 Samadhi in Buddhism
323 หลักชาวพุทธ จุดเริ่มจุดร่วม ที่มารวมกันรุ่งโรจน์ 353 Sammasati, an Exposition of Right Mindfulness
324 หลักทั่วไปของพุทธศาสตร์ 354 Thai Buddhism to the Buddhist World
325 หลักสูตรอารยชน 355 The Pali Canon what a Buddhist Must Know
326 องค์พระรัฐสีมาคุณากรปิยชาติ 356 The Three Signs
327 อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต 357 Toward Sustainable Science
328 อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต [ฉบับ ๓ พากย์ บาลี-ไทย-อังกฤษ] 358 Vision of the Dhamma
329 อยู่ก็สบาย ตายก็เป็นสุข    
330 อายุยืนอย่างมีคุณค่า    
<< กลับ [1] [2] [3] [4]  

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)
 

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก