หน้าหลัก พระธรรม หนังสือธรรมะ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) หน้าที่ ๒
Search:
"อานนท์เอย ! พึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า ธรรมวินัยอันใดที่เราได้แสดงแล้ว บัญญัติแล้ว ขอให้ธรรมวินัยอันนั้น จงเป็นศาสดาของพวกเธอแทนเราต่อไป เธอทั้งหลายจงมีธรรมวินัยเป็นที่พึ่งเถิด อย่าได้มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งเลย"
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน
อาจารย์วศิน อินทสระ

“ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม


 มีพุทธพจน์แห่งหนึ่ง สรุปธรรมทั้งหมดไว้ดังนี้
  ๑. ธรรมทั้งปวง มีฉันทะเป็นมูล (ฉนฺทมูลกา) ๖. ธรรมทั้งปวง มีสติเป็นเจ้าใหญ่ (สตยาธิปเตยฺยา)
  ๒. ธรรมทั้งปวง มีมนสิการเป็นต้นกำเนิด (มนสิการสมฺภวา) ๗. ธรรมทั้งปวง มีปัญญาเป็นยิ่งยอด (ปญฺญุตฺตรา)
  ๓. ธรรมทั้งปวง มีผัสสะเป็นที่ก่อตัวขึ้น (ผสฺสสมุทยา) ๘. ธรรมทั้งปวง มีวิมุติเป็นแก่น (วิมุตฺติสารา)
  ๔. ธรรมทั้งปวง มีเวทนาเป็นที่ชุมนุม (เวทนาสโมสรณา) ๙. ธรรมทั้งปวง มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธา)
  ๕. ธรรมทั้งปวง มีสมาธิเป็นประมุข (สมาธิปมุขา) ๑๐. ธรรมทั้งปวง มีนิพพานเป็นที่สิ้นสุด (นิพพานปริโยสานา)
 

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) :
สัมมาสมาธิและสมาธิแบบพุทธ

หน้าแรก : หมวดพระธรรม
หน้าหลัก : หนังสือธรรมะ
วัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม
เว็บไซต์ : http://www.watnyanaves.net
(รวมทั้งหมด ๓๕๘ เล่ม)

101 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะศาสนาประจำชาติ 151 ถ้ารู้จักพระพุทธศาสนา ความสุขต้องมาทันที
102 ความสุข ๕ ชั้น 152 ถ้าอยากพันวิกฤตต้องเลิกติดไสยศาสตร์
103 ความสุข ทุกแง่ทุกมุม 153 ถึงเวลา มาพัฒนาเยาวชนกันใหม่
104 ความสุขของครอบครัว คือสันติสุขของสังคม 154 ถึงเวลา มารื้อปรับระบบพัฒนาคนกันใหม่
105 ความสุขที่แท้จริง 155 ทรัพย์ อำนาจ ทวนกระแส
106 ความสุขที่สมบูรณ์ 156 ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปิฎก หมวดพุทธศาสตร์
107 ค่านิยมแบบพุทธ 157 ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปิฎก หมวดสังคมศาสตร์
108 คำถามสำหรับชาวพุทธ [สำรวจตัวก่อนปฏิบัติธรรม] 158 ทศวรรษธรรมทัศน์พระธรรมปิฏก หมวดศึกษาศาสตร์
109 คำปราศรัยของพระธรรมปิฎก [ป.อ. ปยุตฺโต] 159 ทศวรรษธรรมทัศน์พระธรรมปิฏกหมวดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
110 คุณบิดามารดา สุดพรรณนามหาศาล 160 ทัศนะของพระพุทธศาสนาต่อสตรีและการบวชเป็นภิกษุณี
111 คู่มือชีวิต 161 ทางสายอิสรภาพ ของการศึกษาไทย
112 คู่สร้างคู่สม ชีวิตคู่ในอุดมคติ 162 ทางออกระบบเศรษฐกิจที่ครอบงำสังคมไทย
113 งานก็ได้ผล คนก็เป็นสุข 163 ทำแท้งตัดสินอย่างไร ชีวิตเริ่มต้นเมื่อไร
114 จริยธรรมสำหรับคนรุ่นใหม่ 164 ทำไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนาฯ
115 จะพัฒนาคนกันได้อย่างไร [พุทธศาสนากับการพัฒนามนุษย์] 165 ทำอย่างไรจะให้เชื่อเรื่องกรรม
116 จะสุขแท้ต้องเป็นไท ต้องสุขเองได้ จึงจะช่วยโลกให้เป็นสุข 166 ทำอย่างไรจะให้งานประสานกับความสุข
117 จะอยู่อย่างเป็นเหยื่อหรือขึ้นเหนือไปนำเขา 167 ทำอย่างไรจะหายโกรธ
118 จักรใดขับดันยุคไอที 168 ทำอย่างไรจะหายโกรธ [ฉบับ ๒ พากย์]
119 จัดงานวิสาขบูชา อย่าอยู่แค่หน้าตา ต้องไปให้ถึงตัว 169 ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ์
120 จัดระเบียบสังคมตามคตินิยมแห่งสังฆะ 170 ทุกข์สำหรับเห็น แต่สุขสำหรับเป็น
121 จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา 171 ธรรมเพื่อชีวิตและการพัฒนาวัฒนธรรม
122 จากสุขในบ้าน สู่ความเกษมศานติ์ทั่วสังคม 172 ธรรมกถาสำหรับญาติผู้ป่วย
123 จาริกบุญ จารึกธรรม 173 ธรรมกับไทย ในสถานการณ์ปัจจุบัน
124 จารึกอโศก 174 ธรรมกับการศึกษาของไทย
125 จารึกอโศก [ธรรมจักรบนเศียรสี่สิงห์] รัฐศาสตร์แห่งธรรมาธิปไตย 175 ธรรมกับการศึกษา-พัฒนาชีวิต
126 จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาคน ตามแนวธรรมชาติ 176 ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม
127 ชวนคิด-พินิจธรรม 177 ธรรมนูญชีวิต ๒ พากย์
128 ช่วยให้ตายเร็ว หรือช่วยให้ตายดี 178 ธรรมนูญชีวิต [ฉบับ ๒ พากย์]
129 ช่วยกันนำพาประเทศไทย ให้ก้าวไปอย่างสง่างาม ในท่ามกลางประชาคมโลก 179 ธรรมะกับการทำงาน
130 ชีวิต งาน และสังคมที่สมบูรณ์ 180 ธรรมะฉบับเรียนลัด
131 ชีวิตกับการทำงาน 181 ธรรมะชนะเอดส์
132 ชีวิตควรเป็นอย่างไร ความสุข 182 ธรรมาธิปไตยไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ
133 ชีวิตคู่ที่มีคุณค่า 183 ธรรมาลัย ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
134 ชีวิตที่เป็นอยู่ดี ด้วยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทำให้พัฒนาครบ ๔ 184 ธุรกิจ-ฝ่าวิกฤต ตอบปัญหา-สนทนาธรรมกับคุณอานันท์ ปันยารชุนและคณะ
135 ชีวิตที่ดีงาม – หลักการทั่วไปของการปฏิบัติธรรม 185 นรก-สวรรค์ ในพระไตรปิฎก
136 ชีวิตที่สมบูรณ์ 186 นักวิชาการเทศ-ไทย หาความรู้ให้แน่ ใช่แค่คิดเอา
137 ชีวิตที่สร้างสรรค์ สดใส และสุขสันต์ 187 นิติศาสตร์แนวพุทธ
138 ชีวิตนี้เพื่องาน งานนี้เพื่อธรรม 188 นิพพาน-อนัตตา
139 ชีวิตหนึ่งเท่านี้สร้างความดีได้อนันต์ 189 บทบาทนักศึกษาในการศึกษา [ส่งเสริม] พุทธศาสนา
140 ดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท 190 บารมี ยิ่งยวด หรือยิ่งใหญ่
141 ดุลยภาพ สาระแห่งสุขภาพและความสมบูรณ์ 191 บุญ กรรม นรก-สวรรค์ เลือกได้ทุกคน
142 ดูหนังสือของพระมโนสะท้อนภาพโซของการศึกษาไทย 192 ปฏิจจสมุปบาท [กรรมเกิด กรรมอาศัย กรรมเป็นไป ที่นี่]
143 ต้องฟื้นฟูวัดให้ชนบทพัฒนา สังคมไทยจึงจะก้าวหน้าได้มั่นคง 193 ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง
144 ตอบ ดร. มาร์ติน - พุทธวินัย ถึง ภิกษุณี 194 ประโยชน์สูงสุดของชีวิตนี้ [ปัญญา วิสุทธิ กรุณา มาบรรจบ ที่นี่]
145 ตอบ ดร.มาร์ติน - ดลถิ่นอริยชน สตรีหลุดพ้น ขึ้นเหนือมหาพรหม 195 ประชาธิปไตย ไม่ยาก ถ้าอยากได้
146 ตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนา เหตุผลที่แท้อยู่ที่ไหน 196 ประชาธิปไตยจริงแท้...คือแค่ไหน
147 ตามทางพุทธกิจ 197 ประทีปส่องสยาม
148 ตื่นเถิดชาวไทย 198 ปรัชญาการศึกษาของไทย ภาคพุธธรรรม แกนนำการศึกษา
149 ตื่น-กันเสียทีจากความเท็จ ของหนังสือเหตุเกิด พ.ศ. ๑ 199 ปัญหาขัดแย้งในโลก แก้ได้ด้วยกฐิน
150 ถ้าเชิดชูพระคุณแม่ขึ้นมาได้ สังคมไทยไม่สิ้นความหวัง 200 ปีใหม่ต้อนรับหรือท้าทาย
<< กลับ [1] [2] [3] [4] ถัดไป >>

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)
 

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก