หน้าหลัก พระธรรม หนังสือธรรมะ พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)
Search:
"อานนท์เอย ! พึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า ธรรมวินัยอันใดที่เราได้แสดงแล้ว บัญญัติแล้ว ขอให้ธรรมวินัยอันนั้น จงเป็นศาสดาของพวกเธอแทนเราต่อไป เธอทั้งหลายจงมีธรรมวินัยเป็นที่พึ่งเถิด อย่าได้มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งเลย"
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน
อาจารย์วศิน อินทสระ

“ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม


 มีพุทธพจน์แห่งหนึ่ง สรุปธรรมทั้งหมดไว้ดังนี้
  ๑. ธรรมทั้งปวง มีฉันทะเป็นมูล (ฉนฺทมูลกา) ๖. ธรรมทั้งปวง มีสติเป็นเจ้าใหญ่ (สตยาธิปเตยฺยา)
  ๒. ธรรมทั้งปวง มีมนสิการเป็นต้นกำเนิด (มนสิการสมฺภวา) ๗. ธรรมทั้งปวง มีปัญญาเป็นยิ่งยอด (ปญฺญุตฺตรา)
  ๓. ธรรมทั้งปวง มีผัสสะเป็นที่ก่อตัวขึ้น (ผสฺสสมุทยา) ๘. ธรรมทั้งปวง มีวิมุติเป็นแก่น (วิมุตฺติสารา)
  ๔. ธรรมทั้งปวง มีเวทนาเป็นที่ชุมนุม (เวทนาสโมสรณา) ๙. ธรรมทั้งปวง มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธา)
  ๕. ธรรมทั้งปวง มีสมาธิเป็นประมุข (สมาธิปมุขา) ๑๐. ธรรมทั้งปวง มีนิพพานเป็นที่สิ้นสุด (นิพพานปริโยสานา)
 

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) :
สัมมาสมาธิและสมาธิแบบพุทธ

หน้าแรก : หมวดพระธรรม
หน้าหลัก : หนังสือธรรมะ
วัดธารน้ำไหล (สวนโมกขพลาราม) อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี
เว็บไซต์ : http://www.buddhadasa.in.th
(รวมทั้งหมด ๖๙ เล่ม)

หมวดที่ ๑ : งานประพันธ์โดยพุทธทาสภิกขุ (๘ เล่ม)
101 อริยศีลธรรม ๑ : ศีลธรรม 105 ตามรอยพระอรหันต์
102 อริยศีลธรรม ๒ : มนุษย์กับศีลธรรม 106 ศิลปะ และสุนทรียภาพทางจิตวิญญาณ
103 อริยศีลธรรม ๓ : ปัญหาและทางออกของศีลธรรม 107 สรรนิพนธ์พุทธทาสว่าด้วย เต๋า
104 อริยศีลธรรม ๔ : อริยศีลธรรมสำหรับยุวชน 108 สรรนิพนธ์พุทธทาสว่าด้วย สตรี ในฐานะมารดาของโลก
 
หมวดที่ ๒ : ชุดธรรมโฆษณ์ (๓๗ เล่ม)
201 ขั้นตอนการศึกษาพระพุทธศาสนาโดยละเอียด
(ก ข ก กา ของการศึกษาพุทธศาสนา)
220 โมกขธรรมประยุกต์
202 คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา 221 อริยศีลธรรม
203 พุทธประวัติจากพระโอฏฐ์ 222 ราชภโฏวาท
204 อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น 223 ธรรมะกับสัญชาตญาณ
205 อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย 224 ฆราวาสธรรม
206 อิทัปปัจจยตา 225 การกลับมาแห่งศีลธรรม
207 ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ 226 เยาวชนกับศีลธรรม
208 ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์ 227 หัวข้อธรรมในคำกลอน
209 ไกวัลยธรรม ๑ 228 สันติภาพของโลก
210 ไกวัลยธรรม ๒ 229 ศีลธรรมกับมนุษย์
211 โอสาเรตัพพธรรม 230 ธรรมเล่มน้อย
212 ปรมัถสภาวธรรม 231 เมื่อธรรมครองโลก
213 ปฏิปทาปริทรรศน์ 232 ใครคือใคร?
214 อานาปานสติภาวนา 233 ใจความแห่งคริสตธรรมเท่าที่พุทธบริษัทควรทราบ
215 สมถวิปัสสนายุคปรมาณู 234 หัวข้อธรรมในคำกลอน และบทประพันธ์ของ "สิริวยาส"
216 พุทธจริยา 235 ธรรมบรรยายต่อหางสุนัข
217 พุทธิกจริยธรรม 236 เทคนิคของการมีธรรมะ
218 ธรรมปาฏิโมกข์ เล่ม ๑ 237 ฟ้าสางระหว่าง ๕๐ ปีที่มีสวนโมกข์ ตอน ๒
219 ธรรมปาฏิโมกข์ เล่ม ๒    
 
หมวดที่ ๓ : ชุดพุทธทาสธรรม (๑๘ เล่ม)
301 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑ : การศาสนา ๑ 310 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๐ : ความมั่นคงของสังคมโลก
302 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๒ : การศาสนา ๒ 311 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๑ : เศรษฐศาสตร์พุทธศาสนา
303 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๓ : ฟ้าสางทางคณะสงฆ์ 312 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๒ : ความสุข
304 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๔ : ศาสนากับสังคม 313 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๓ : ความทุกข์
305 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๕ : ปัญหาของมนุษย์ 314 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๔ : ความตาย
306 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๖ : ศีลธรรมกับการแก้ปัญหาของสังคม 315 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๕ : คู่ชีวิต
307 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๗ : การศึกษากับศิลธรรม 316 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๖ : การทำงาน
308 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๘ : เยาวชนกับทางรอดของสังคม 317 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๗ : สุขภาพทางจิตวิญญาณ
309 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๙ : คู่มือพุทธบริษัท 318 พุทธทาสธรรม เล่มที่ ๑๘ : ปล่อยวาง
 
หมวดที่ ๔ : หนังสือที่เกี่ยวข้อง หรือกล่าวถึงพุทธทาสภิกขุ (๖ เล่ม)
401 เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา 404 ๑๐๐ ปี พุทธทาส เล่ม ๓ : พุทธธรรม พุทธทาส
402 ๑๐๐ ปี พุทธทาส เล่ม ๑ : ชีวิตและการทำงาน 405 ๑๐๐ ปี ร้อยจดหมาย พุทธทาส - สัญญา
403 ๑๐๐ ปี พุทธทาส เล่ม ๒ : สืบสานปณิธานพุทธทาส 406 ภิกฺขุนี
 
หมวดที่ ๕ : อื่น ๆ
501 คำสอนของฮวงโป (บันทึกชินเชา, บันทึกกวาน-ลิง)    
       
 

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)
 

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก