หน้าหลัก พระธรรม หนังสือธรรมะ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) หน้าที่ ๑
Search:
"อานนท์เอย ! พึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า ธรรมวินัยอันใดที่เราได้แสดงแล้ว บัญญัติแล้ว ขอให้ธรรมวินัยอันนั้น จงเป็นศาสดาของพวกเธอแทนเราต่อไป เธอทั้งหลายจงมีธรรมวินัยเป็นที่พึ่งเถิด อย่าได้มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งเลย"
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน
อาจารย์วศิน อินทสระ

“ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม


 มีพุทธพจน์แห่งหนึ่ง สรุปธรรมทั้งหมดไว้ดังนี้
  ๑. ธรรมทั้งปวง มีฉันทะเป็นมูล (ฉนฺทมูลกา) ๖. ธรรมทั้งปวง มีสติเป็นเจ้าใหญ่ (สตยาธิปเตยฺยา)
  ๒. ธรรมทั้งปวง มีมนสิการเป็นต้นกำเนิด (มนสิการสมฺภวา) ๗. ธรรมทั้งปวง มีปัญญาเป็นยิ่งยอด (ปญฺญุตฺตรา)
  ๓. ธรรมทั้งปวง มีผัสสะเป็นที่ก่อตัวขึ้น (ผสฺสสมุทยา) ๘. ธรรมทั้งปวง มีวิมุติเป็นแก่น (วิมุตฺติสารา)
  ๔. ธรรมทั้งปวง มีเวทนาเป็นที่ชุมนุม (เวทนาสโมสรณา) ๙. ธรรมทั้งปวง มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธา)
  ๕. ธรรมทั้งปวง มีสมาธิเป็นประมุข (สมาธิปมุขา) ๑๐. ธรรมทั้งปวง มีนิพพานเป็นที่สิ้นสุด (นิพพานปริโยสานา)
 

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) :
สัมมาสมาธิและสมาธิแบบพุทธ

หน้าแรก : หมวดพระธรรม
หน้าหลัก : หนังสือธรรมะ
วัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม
เว็บไซต์ : http://www.watnyanaves.net
(รวมทั้งหมด ๓๕๘ เล่ม)

001 เกณฑ์วิฉัย ความหมายและคุณค่าของพุทธธรรม [ชุดธรรมสำหรับคนหนุ่มสาว] 051 การศึกษาเครื่องมือพัฒนาที่ยังต้องพัฒนา
002 เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ 052 การศึกษาเพื่อสร้างบัณฑิต หรือการศึกษา
003 เจอวิกฤต จะเลือกวิวัฒน์หรือจะเอาวิบัติ 053 การศึกษาเพื่อสันติภาพ
004 เจาะหาความจริง เรื่องศาสนาประจำชาติ 054 การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน
005 เชื่อกรรม-รู้กรรม-แก้กรรม 055 การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนกินอยู่เป็น
006 เตรียมตัวรับพร ๒๕๓๕ 056 การศึกษากับเศรษฐกิจ ฝ่ายไหนจะรับใช้
007 เทศน์งานสมเด็จย่าและคำปราศรัยเรื่องสันติภาพ 057 การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
008 เป็นสูขทุกเวลา ๒๕๓๖ 058 การศึกษากับการวิจัยเพื่ออนาคตของ
009 เพิ่มพลังแห่งชีวิต 059 การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออก
010 เมืองไทยจะวิกฤต ถ้าคนไทยมีศรัทธาปริต 060 การศึกษาฉบับง่าย
011 เมื่อธรรมดามาถึง รู้ให้ทันและทำให้ถูก 061 การศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย์
012 เราจะกู้แผ่นดินกันอย่างไร 062 การศึกษาทั่วไปเพื่อสร้างบัณฑิต
013 เรื่องที่คนไทยควรเข้าใจให้ถูก 063 การศึกษาทางเลือกสู่วิวัฒน์หรือวิบัติ ในยุคโลกไร้พรมแดน
014 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับพิธีศพ และพุทธภาษิตชีวิตกับความตาย 064 การศึกษาพัฒนาการ หรือบูรณาการ
015 เล่าเรียน-ทำงานกันไป ชีวิตได้อะไร 065 การสร้างสรรค์ประชาธิปไตย
016 เวลาแต่ละวัน อย่าให้ผ่านไปเปล่า 066 การสร้างสรรค์ปัญญาเพื่ออนาคตของมนุษยชาติ
017 เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ 067 การสื่อภาษาเพื่อเข้าถึงสัจธรรม
018 เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ [ฉบับ ๒ พากย์ ไทย-อังกฤษ] 068 กาลเวลา
019 เหตุและผลของการอวดอุตริมนุษยธรรม 069 ก้าวใหม่ของโรงเรียนนายร้อยตำรวจกับการศึกษาเพื่อสันติสุขของโลก
020 เหตุปัจจัยในปฏิจจสมุปบาทและกรรม 070 ก้าวไปในบุญ
021 แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา 071 ก้าวไปในบุญ [ฉบับ ๒ พากย์]
022 แก้ปํญหาข้างหน้าเสียแต่วันนี้ 072 ขว้างก้อนอิฐมา พัฒนาเป็นแก้วมณี
023 แสงเงินแสงทองของชีวิตที่ดีงาม 073 ขอคำตอบจาก ผบ ทหารสูงสุด
024 โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ 074 ข้อคิดเพื่อการศึกษา
025 โยนิโสมนสิการ-วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม 075 ข้อคิดชีวิตทวนกระแส
026 โรงเรียนต้องช่วยสังคมไทย อนุรักษ์ความเจริญทางจิตใจ และก้าวไปในปัญญา 076 ของขวัญของชีวิต
027 โลกขึ้นสหัสวรรษใหม่ คนต้องเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ 077 คติจตุคามรามเทพ
028 โลกมีปัญหา พุทธศาสนามีคำตอบ 078 คติธรรมแห่งชีวิต
029 ในความทรงจำ ที่งดงามสดใส [วัดวชิรธรรมปทีป ในฉากชีวิตของพระรูปหนึ่ง] 079 คติธรรมคำคม
030 ไตรภูมิพระร่วงอิทธิพลต่อสังคมไทย 080 คนไทย ใช่กบเฒ่า เถราวาท VS ลัทธิอาจารย์
031 ไตรลักษณ์ 081 คนไทยใจไม่แคบ แต่ระวังไว้ อย่าให้ปัญญาแคบ
032 ไตรลักษณ์ [จบโลก ถึงธรรม ด้วยรู้สามอย่างนี้] 082 คนไทยกับเทคโนโลยี
033 ไอซีที [ICT] ก้าวหน้า คนต้องพัฒนาปัญญาและวินัย 083 คนไทยกับป่า
034 ไอที ภายใต้วัฒนธรรมแห่งปัญญา [ศาสนากับยุคโลกาภิวัตน์] 084 คนไทยกับสัตว์ป่า
035 กรณีธรรมกาย บทเรียนเพื่อการศึกษาฯ 085 คนไทยสู่ยุคไอที
036 กรณีสันติอโศก 086 คนไทยหลงทางหรือไร
037 กรรม ตามนัยแห่งพุทธธรรม 087 คนรักษ์ป่า ป่ารักษ์คน
038 กรรมกับโรคพันธุกรรมในทัศนะพระพุทธศาสนา 088 ครองเรือน-ครองรัก จักเลิศแท้ ด้วยครองธรรม
039 กรรมของคนไทย ทำกันไว้เอง [ถึงเวลา มาแก้กรรมกันเสียที] 089 ความเป็นกัลยาณมิตรของหลวงปู่ชา
040 กรรมนรกสวรรค์สำหรับคนรุ่นใหม่ 090 ความเป็นอนิจจังของสังขาร กัยอิสรภาพของสังคม
041 กระแสธรรม เพื่อชีวิตและสังคม 091 ความคิดแหล่งสำคัญของการศึกษา
042 กระแสธรรม กระแสไท 092 ความจริงแห่งชีวิต [๒๕๔๒]
043 กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคนสู่ 093 ความจริงแห่งชีวิต และช่วยให้ตายเร็วหรือช่วยให้ตายดี
044 กายหายไข้ ใจหายทุกข์ 094 ความจริงแห่งชีวิต บททดสอบใจและเตือนให้นึกถึงความจริง
045 การเกิดเป็นทุกข์ เกิดดีเป็นสุข 095 ความตายคือคติธรรมแห่งชีวิตฯ
046 การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 096 ความมั่นคงทางจิตใจ
047 การเสริมสร้างคุณลักษณะเด็กไทย 097 ความมุ่งหมายของวิชาพื้นฐานทั่วไป
048 การแพทย์แนวพุทธ 098 ความรัก จากวาเลนไทน์สู่ความเป็นไทย
049 การแพทย์ยุคใหม่ ในพุทธทัศน์ 099 ความรักในทางพุทธศาสนา, รักแท้รักเทียมดูอย่างไร, คู่ครองที่ดี
050 การพัฒนาจริยธรรม 100 ความรุนแรง เกิดจากความอ่อนแอ & เมื่อวินัยไม่มี เสรีภาพก็หายไป
  [1] [2] [3] [4] ถัดไป >>

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)
 

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก